วิธีทำเสื้อเกราะกันกระสุนนั้นไม่ยากอย่างที่คิดครับ
1. นำเหล็กกล้าผสม.ทองเหลืองป่นละเอียดเท่าผงแป้งnano ให้ผสมติดกันแน่ขึ้นแล้วเทใส่เบ้าพิมพ์ ตามโรงเหล็กครับ
2. นำเข้าเตาอบอบให้เหล็กแข็งขึ้น
3. นำฟิลม์เอกซเรย์เคลืบด้านหน้าและหลังแผ่นเหล็ก ด้วยความร้อนสูง
4.ทำอย่างนนี้อีก 4 แผ่น แล้วนำมาประกบกัน
5.อัดแผ่นเหล็กให้เข้ารูปด้วยเครื่องอัดเหล็กแผ่น
6.ลายที่ออกมาจะเป็นรูปโครงกระดูก(ผิดๆ) เป็นลายเคฟล่าครับ
7.นำผ้าnano ชนิดทำกระเป๋า และซับเหงื่อได้ดี มาตัดเย็บทำตัดเสื้อกั๊ก
8.ใส่แผ่นยางซิลิโคนด้านหน้าและหลัง ในชั้นแรกของเสื้อและด้านหลัง
9.บุด้วยใยโพลีเอสเตอร์กันกระแทก เหมือนกันกระเป๋าเป้ที่มีส่วนนิ่มๆไว้รับน้ำหนัก
10. น้ำหนักจะประมาณ3 -4 โลเศษๆ ควรกระทำโดยช่างเหล็กผู้มีความชำนาญสูงครับ
ฟิมล์เอ็กซเรย์มันกันกระสุนไม่ได้นะครับที่เค้าเอามาทำเค้าเอามาอัดซ้อนๆกันแล้วเคลือโพลิเมอร์
เวลาปะทะ ควรใส่ เสื้อเกราะ + หมวกไหมพรหม+หมวกเหล็กคอมมานโด และแว่นกันกระสุน
เครดิต กองทัพนิรนาม
สหรัฐฯ เริ่มโปรเจคท์ผลิตเสื้อเกราะติดอาวุธ กันกระสุน รักษาบาดแผลได้ แถมยังมีหน้าจอแสดงผลให้ตัว ล้ำสมัยเทียบได้กับชุดของ ไอรอนแมน
วันที่ 11 ตุลาคม 2556 เว็บไซต์มิลเลอร์ของอังกฤษ มีรายงานว่า กองทัพสหรัฐฯ ได้มีคำสั่งให้เริ่มโครงการออกแบบและพัฒนาชุดเกราะสุดล้ำสมัยสำหรับหน่วยจู่โจมพิเศษ ที่นอกจากจะสามารถกันกระสุนและเพิ่มความแข็งแกร่งให้ผู้สวมใส่ได้แล้ว ชุดเกราะนี้ยังมีความสามารถในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นเมื่อผู้สวมใส่ได้รับบาดเจ็บด้วย
สำหรับชุดเกราะแห่งอนาคตที่มีชื่อว่า เกราะเบาสำหรับปฏิบัติการจู่โจมทางยุทธศาสตร์ หรือ TALOS นี้ พันโท คาร์ล บอร์เจส นักวิทยาศาสตร์จากหน่วยงานวิจัย พัฒนา และออกแบบอาวุธแก่กองทัพ เผยว่า TALOS คือชุดเกราะนักรบ ซึ่งเป็นการบูรณาการร่วมกันระหว่างระบบชุดเกราะ ที่นำนวัตกรรมเสื้อเกราะมาใช้ในโครงสร้างภายนอก ภายในยังประกอบไปด้วยจอแสดงผลที่มีข้อมูลเรื่องพลังงาน ฉายทัศนวิสัยรอบตัวของทหาร มีการติดตั้งอาวุธในตัว และยังรวมไว้ด้วยความสามารถในการห้ามเลือดชั่วคราวแก่ผู้สวมใส่ด้วย
ด้านจ่าสิบเอก คริส ฟาริส ยังระบุด้วยว่า ขณะนี้ยังไม่มีอุตสาหกรรมใด ๆ ที่สามารถผลิตชุดเกราะนี้ขึ้นมาได้ ทางกองทัพจึงต้องขอให้องค์กรเอกชนภายนอกห้องปฏิบัติการของรัฐบาลเป็นผู้ผลิตมัน
และในตอนนี้ ทางสถาบันเอ็มไอทีก็กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาชุดเกราะเหลว ที่ของเหลวในชุดจะเปลี่ยนสภาพเป็นของแข็งทันทีเมื่ออยู่ภายในสนามแม่เหล็กหรือถูกกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ขณะที่ ศาสตราจารย์กาเร็ธ แม็คคินลีย์ จากสถาบันเอ็มไอที ได้ระบุว่า ชุดเกราะพิเศษล้ำสมัยของกองทัพนั้น สามารถเปรียบได้กับชุดเกราะของไอรอนแมนเลยที่เดียว มันเป็นสิ่งทีเรามักจะพบเห็นได้ในหนังเรื่องต่าง ๆ ซึ่งชุดเกราะจะเข้ามาช่วยยกระดับในด้านการเคลื่อนไหวและความสามารถของมนุษย์
ทั้งนี้ คาดว่าชุดเกราะ TALOS จะสามารถพัฒนาและพร้อมนำมาใช้ในกองทัพได้จริงในปีหน้า ขณะที่รุ่นซึ่งได้รับการพัฒนามากกว่านั้นน่าจะเป็นจริงได้ในปี 2559
http://hilight.kapook.com/view/92302
1. นำเหล็กกล้าผสม.ทองเหลืองป่นละเอียดเท่าผงแป้งnano ให้ผสมติดกันแน่ขึ้นแล้วเทใส่เบ้าพิมพ์ ตามโรงเหล็กครับ
2. นำเข้าเตาอบอบให้เหล็กแข็งขึ้น
3. นำฟิลม์เอกซเรย์เคลืบด้านหน้าและหลังแผ่นเหล็ก ด้วยความร้อนสูง
4.ทำอย่างนนี้อีก 4 แผ่น แล้วนำมาประกบกัน
5.อัดแผ่นเหล็กให้เข้ารูปด้วยเครื่องอัดเหล็กแผ่น
6.ลายที่ออกมาจะเป็นรูปโครงกระดูก(ผิดๆ) เป็นลายเคฟล่าครับ
7.นำผ้าnano ชนิดทำกระเป๋า และซับเหงื่อได้ดี มาตัดเย็บทำตัดเสื้อกั๊ก
8.ใส่แผ่นยางซิลิโคนด้านหน้าและหลัง ในชั้นแรกของเสื้อและด้านหลัง
9.บุด้วยใยโพลีเอสเตอร์กันกระแทก เหมือนกันกระเป๋าเป้ที่มีส่วนนิ่มๆไว้รับน้ำหนัก
10. น้ำหนักจะประมาณ3 -4 โลเศษๆ ควรกระทำโดยช่างเหล็กผู้มีความชำนาญสูงครับ
ฟิมล์เอ็กซเรย์มันกันกระสุนไม่ได้นะครับที่เค้าเอามาทำเค้าเอามาอัดซ้อนๆกันแล้วเคลือโพลิเมอร์
เวลาปะทะ ควรใส่ เสื้อเกราะ + หมวกไหมพรหม+หมวกเหล็กคอมมานโด และแว่นกันกระสุน
เครดิต กองทัพนิรนาม
สหรัฐฯ เริ่มโปรเจคท์ผลิตเสื้อเกราะติดอาวุธ กันกระสุน รักษาบาดแผลได้ แถมยังมีหน้าจอแสดงผลให้ตัว ล้ำสมัยเทียบได้กับชุดของ ไอรอนแมน
วันที่ 11 ตุลาคม 2556 เว็บไซต์มิลเลอร์ของอังกฤษ มีรายงานว่า กองทัพสหรัฐฯ ได้มีคำสั่งให้เริ่มโครงการออกแบบและพัฒนาชุดเกราะสุดล้ำสมัยสำหรับหน่วยจู่โจมพิเศษ ที่นอกจากจะสามารถกันกระสุนและเพิ่มความแข็งแกร่งให้ผู้สวมใส่ได้แล้ว ชุดเกราะนี้ยังมีความสามารถในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นเมื่อผู้สวมใส่ได้รับบาดเจ็บด้วย
สำหรับชุดเกราะแห่งอนาคตที่มีชื่อว่า เกราะเบาสำหรับปฏิบัติการจู่โจมทางยุทธศาสตร์ หรือ TALOS นี้ พันโท คาร์ล บอร์เจส นักวิทยาศาสตร์จากหน่วยงานวิจัย พัฒนา และออกแบบอาวุธแก่กองทัพ เผยว่า TALOS คือชุดเกราะนักรบ ซึ่งเป็นการบูรณาการร่วมกันระหว่างระบบชุดเกราะ ที่นำนวัตกรรมเสื้อเกราะมาใช้ในโครงสร้างภายนอก ภายในยังประกอบไปด้วยจอแสดงผลที่มีข้อมูลเรื่องพลังงาน ฉายทัศนวิสัยรอบตัวของทหาร มีการติดตั้งอาวุธในตัว และยังรวมไว้ด้วยความสามารถในการห้ามเลือดชั่วคราวแก่ผู้สวมใส่ด้วย
ด้านจ่าสิบเอก คริส ฟาริส ยังระบุด้วยว่า ขณะนี้ยังไม่มีอุตสาหกรรมใด ๆ ที่สามารถผลิตชุดเกราะนี้ขึ้นมาได้ ทางกองทัพจึงต้องขอให้องค์กรเอกชนภายนอกห้องปฏิบัติการของรัฐบาลเป็นผู้ผลิตมัน
และในตอนนี้ ทางสถาบันเอ็มไอทีก็กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาชุดเกราะเหลว ที่ของเหลวในชุดจะเปลี่ยนสภาพเป็นของแข็งทันทีเมื่ออยู่ภายในสนามแม่เหล็กหรือถูกกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ขณะที่ ศาสตราจารย์กาเร็ธ แม็คคินลีย์ จากสถาบันเอ็มไอที ได้ระบุว่า ชุดเกราะพิเศษล้ำสมัยของกองทัพนั้น สามารถเปรียบได้กับชุดเกราะของไอรอนแมนเลยที่เดียว มันเป็นสิ่งทีเรามักจะพบเห็นได้ในหนังเรื่องต่าง ๆ ซึ่งชุดเกราะจะเข้ามาช่วยยกระดับในด้านการเคลื่อนไหวและความสามารถของมนุษย์
ทั้งนี้ คาดว่าชุดเกราะ TALOS จะสามารถพัฒนาและพร้อมนำมาใช้ในกองทัพได้จริงในปีหน้า ขณะที่รุ่นซึ่งได้รับการพัฒนามากกว่านั้นน่าจะเป็นจริงได้ในปี 2559
http://hilight.kapook.com/view/92302
โดย วัน พฤหัสบดี ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2548 12:17 น.
เรือนจำกลางขอนแก่น คิดค้นเสื้อเกราะกันกระสุนและเกราะเหล็กกันกระสุนติดรถยนต์สำเร็จ ฟุ้งประสิทธิภาพสูงกว่าเสื้อเกราะจากต่างประเทศ สามารถกันกระสุนเอ็ม 16 ได้สบาย แต่ใช้ต้นทุนผลิตน้อยกว่า 100 เท่า วอนรัฐบาลหันมาใช้ของคนไทยดีกว่าสั่งจากต่างประเทศ
นายประธาน ฤทธิลี เจ้าหน้าที่บริหารงานราชทัณฑ์ 7 ประจำเรือนจำกลางขอนแก่น ผู้ประดิษฐ์คิดค้นเสื้อเกราะกันกระสุนฝีมือคนไทย กล่าวว่า ความวุ่นวายที่เกิดขึ้นใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้กรมราชทัณฑ์มีแนวคิดที่จะประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะสามารถช่วยป้องกันกระสุนปืนให้กับเจ้าหน้าที่รัฐในราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูงเทียบเท่าของต่างประเทศ และเราก็ประสบความสำเร็จในการผลิตเสื้อเกราะกันกระสุน และเกราะเหล็กกันกระสุนติดรถยนต์แล้ว
โดยเสื้อเกราะและเกราะเหล็กกันกระสุนที่เรือนจำกลางขอนแก่นคิดค้นขึ้นนั้น ได้ผ่านการทดลองยิงด้วยกระสุนปืนชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอาวุธขนาด 9 มม., .38, 11 มม., .357 และเอ็ม 16 ซึ่งเสื้อเกราะที่เรือนจำกลางขอนแก่นประดิษฐ์ขึ้นสามารถผ่านการทดสอบได้เป็นอย่างดี กระสุนไม่สามารถทะลุผ่านเสื้อเกราะได้ ในขณะที่มีการทดสอบกับเสื้อเกราะที่นำเข้าจากต่างประเทศ ปรากฏว่า เสื้อเกราะจากต่างประเทศสามารถป้องกันกระสุนได้เพียงขนาด 9 มม. และ .38 แต่ถ้ายิงด้วยกระสุนปืนขนาด 11 มม., .357 และเอ็ม 16 กระสุนจะทะลุทะลวงเสื้อเกราะกันกระสุนที่นำเข้าจากต่างประเทศ
นายประธาน กล่าวอีกว่า หวังว่ารัฐบาลจะเลือกใช้สิ่งประดิษฐ์ฝีมือคนไทยไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยนำไปใช้กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ปฏิบัติราชการในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการปกป้อง ปลอดภัยมากกว่าของต่างประเทศ ขณะที่ต้นทุนในการผลิตเสื้อเกราะอยู่แค่ 500 บาท แต่สามารถจำหน่ายในราคา 1,200 บาท ซึ่งหากหันมาใช้เสื้อเกราะที่เรือนจำกลางขอนแก่นคิดค้น จะทำให้ประหยัดงบประมาณที่ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ ที่มีราคาชิ้นละ 5,000 บาท
"ตอนนี้เตรียมนำเสนอให้ทหาร ตำรวจ หันมาใช้เสื้อเกราะของคนไทย ซึ่งขณะนี้มีเจ้าหน้าที่ของเรือนจำกลางยะลาและเรือนจำจังหวัดปัตตานี ว่าจ้างให้ทำเกราะติดรถยนต์จำนวน 6 คัน ซึ่งเรือนจำกำลังเร่งผลิตให้อยู่ โดยกรรมวิธีการตัดเย็บเราจะให้ผู้ต้องขังเป็นคนทำ วิธีการผลิตง่ายๆ เหมือนเย็บเสื้อกั๊กและเย็บผ้าธรรมดา สำคัญที่เหล็กกันกระสุนสามารถรับแรงกระแทกจากลูกกระสุนปืนที่มีอนุภาพร้ายแรงอย่าง 9 มม., .357 และเอ็ม 16 รวมทั้งอาวุธปืนพกชนิดต่างๆ ได้ เมื่อทดลองใช้เป็นแค่เพียงรอยเล็กๆ เท่านั้น เมื่อเทียบกับเกราะกันกระสุนที่นำเข้าจากต่างประเทศแล้วราคาถูกว่า 100 เท่า" นายประธาน ระบุ
สำหรับขั้นตอนในการผลิตเสื้อเกราะและเกราะกันกระสุนของรถยนต์ จะมีขั้นตอนใกล้เคียงกัน เริ่มจากนำแผ่นเหล็กกล้าชนิดสปริงไซเคิลมาเป็นเกราะป้องกันลูกกระสุน โดยนำมาตีขึ้นรูปด้วยการเผาที่อุณหภูมิ 1,200 เซนติเกต์ ซึ่งหากจะทำเป็นเสื้อเกราะก็จะตีขึ้นรูปเป็นเสื้อกั๊ก หากใช้เป็นเกราะกันกระสุนในรถยนต์ ก็ตีให้เป็นแผ่นขนาด 55 ซม. กว้าง 15 ซม. หนา 0.3 ซม. เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมผืนผ้าทำการชุบแข็งโดยน้ำมันที่อุณหภูมิ 600 เซนติเกต์ ความแข็งเพิ่ม 30% ตกแต่งเรียบร้อย ทาสีกันสนิม จากนั้นก็มาสู่กระบวนการทำซองผ้าสำหรับแผ่นเหล็กกันกระสุน โดยทำจากผ้าใบอย่างหนาสีเข้มเย็บเป็นซองขนาดที่จะพอสอดแผ่นเหล็กที่เป็นเกราะเข้าไปได้
ส่วนเกราะกันกระสุนสำหรับรถยนต์จะเย็บผ้าติดต่อกัน 5-6 ช่อง เพื่อสอดใส่แผ่นเหล็ก 5-6 แผ่นได้ ซึ่งโดยแต่ละช่องนั้นจะทำเหลื่อมกันประมาณ 1 นิ้ว เพื่อให้แผ่นเหล็กซ้อนกัน เมื่อมีการบรรจุแผ่นเหล็กเสร็จเรียบร้อย ก็ตัดเย็บสายเข็มขัดทับแผ่นผ้าที่ด้านบนขอบเข็มขัดจะมีห่วงโลหะติดอยู่บนสายเข็มขัดแผ่นหนา 1 แผ่น จะมีสายเข็มขัดเย็บติดอยู่ 2 เส้น ทิ้งระยะห่างพอสมควร เพื่อติดสายเข็มขัดไว้คล้องแผ่นเกราะเหล็กติดกับตัวรถ ในแต่ละด้านไม่ว่าจะเป็นประตูทุกด้าน เบาะนั่งด้านหลัง และด้านหน้าบริเวณคอนโซนรถยนต์
http://news.sanook.com/crime/2/crime_15363.php
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น